วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2555

รายงานการแปล-สรุปบทความข่าวสารหน้าชั้นเรียน

แปล-สรุปบทความ โดย นายจุติเชษฐ์ นาบำรุง

รหัส 5311310469  กลุ่มเรียน 101

Contact E-mail: JutichetCRU@gmail.com

Publish Blog : http://Jutichet-arti3314.blogspot.com/

รายวิชา ARTI3314 การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์

 

บทความที่ 1

   Miller Boom Box

    ออกแบบโดย : Manajans/JWT Istanbul


Milldiel619



  เนื้อหา


       The idea was to attract attention to and to make Miller the preferred brand among other six packs in the summer when beer consumption spikes.
Miller is closely linked with music in Turkey. It has been organizing Miller Music Factory,a contest to discover fresh music talents for six years and Miller Freshtival, a music festival, for two years now.


แปลข่าว


     คิดว่าจะดึงดูดความสนใจและเพื่อให้มิลเลอร์แบรนด์ที่ต้องการในหมู่อื่น ๆ หกแพ็คในฤดูร้อนเมื่อ spikes การบริโภคเบียร์  มิลเลอร์มีการเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับเพลงในตุรกี จะได้รับการจัดดนตรีโรงงานมิลเลอร์ประกวดเพื่อค้นพบพรสวรรค์ดนตรีสดสำหรับหกปีและมิลเลอร์ Freshtival งานเทศกาลดนตรีสำหรับสองปีที่ผ่านมาขณะนี้

นื้อหา

This is why we have chosen music as a theme for our six packs. We havedesigned two sided boxes, one side looks like a speaker and the other is the casette player.This way when three boxes are brought together side by side, they form a boombox.


แปลข่าว


      นี่คือเหตุผลที่เราได้เลือกเพลงที่เป็นเพลงธีมสำหรับแพ็คหกของเรา เรา havedesigned สองกล่องด้านในด้านหนึ่งดูเหมือนว่าลำโพงและอื่น ๆ เป็นวิธีที่ player.This Casette เมื่อสามกล่องที่นำมารวมกันเคียงข้างพวกเขาในรูปแบบ boombox


สรุปข่าว

                  ออกแบบบรรจุภัณฑ์กล่องใส่เบียร์ชื้นนี้ เป็นการคิดที่แปลกไม่เหมือนใครน่าเก็บ

รูปลักษณ์สะดุดตา สามารถนำวัสดุที่มีอยู่ในท้องตลาดทั่วไปมาดัดแปลงเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า ได้เป็นอย่างดี ตัวบรรจุภัณฑ์นั้น ผู้ออกแบบต้องการจะบ่งบอกถึงดีไซต์ที่คราสสิก ออกแบบมาให้ดูเหมือนวิทยุลำโพง ในยุคก่อน บรรจุภัณฑ์ชิ้นนี้ออกแบบให้มี 3 กล่อง กล่องละ 6ขวด  สามารถนำกล่องมาประกอบกันได้ 

 




BOOMBOX 1



บทความที่ 2

     Mac and Ninny Paper Co

บริษัท Maz and Ninny Paper Co

 
Macbookdiel


เนื้อหา


 Mac and Ninny Paper Co are a new British company making paper goods in the UK .
" Amongst other things, we have designed and illustrated a brand new range of 64 bookplates, all manufactured in the UK. Our bookplate outer packaging is made from 100% recycled post-consumer waste (which we feel adds texture and personality to the packaging) and everything is printed using vegetable based inks.

แปลข่าว


        Mac และคนไม่เต็มเต็งจำกัด กระดาษเป็น บริษัท บริติชใหม่ทำให้สินค้ากระดาษใน UK 
 "ในบรรดาสิ่งอื่น ๆ ที่เราได้รับการออกแบบและภาพประกอบแบรนด์ช่วงใหม่จาก 64 bookplates ทั้งหมดที่ผลิตใน UK. บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกของเราป้ายชื้อหีองสมุดที่ทำจากแผ่นกระดาษ 100% เหลือทิ้งหลังผู้บริโภคกลับมาใช้ใหม่ (ซึ่งเรารู้สึกว่าจะเพิ่มพื้นผิวและบุคลิกภาพในการบรรจุภัณฑ์) และทุกอย่างจะถูกพิมพ์โดยใช้หมึกพิมพ์ที่ใช้ผัก


เนื้อหา


Our packaging comprises an outer wallet which doubles as a library card for keeping track of your books (if you lend them out that is) and folds neatly to house the dozen bookplates contained in the pack."


แปลข่าว


บรรจุภัณฑ์ของเราประกอบด้วยกระเป๋าสตางค์ด้านนอกซึ่งคู่เป็นบัตรห้องสมุดสำหรับการติดตามหนังสือของคุณ (ถ้าคุณยืมพวกเขาเห็นว่าเป็น) และพับไว้อย่างเรียบร้อยที่บ้านโหล bookplates ที่มีอยู่ในแพ็ค.


สรุปข่าว


    การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ถุงกระดาษชิ้นนี้ ใช้วัสดุกระดาษที่เหลือใช้หรือเหลือทิ้งจากผู้บริโภค
แล้วนำมาออกแบบใน บรรจุภัณฑ์ใหม่ในแบบของเขาเอง ซึ่งรู้สึกจะเพิ่มพื้นผิวและบุคลิกภาพในการบรรจุภัณฑ์ และทุกอย่างจะถูกพิมพ์โดยใช้หมึกพิมพ์ที่ใช้ผัก เป็นส่วนประกอนในการพิมพ์





Sundial
 

บทความที่ 3

  Conto T-Shirt Packaging


  ออกแบบโดย : Moio Coletivo for the brand Conto Figueira


Cortshirdiel620




เนื้อหา


The main idea was to create a rural atmosphere,where the fantastic realism and the aura of the “literatura de cordel” craftsmanship met with the detailed atmosphere of Conto's shirts.

"Literatura de cordel" (string literature) are pamphlets or booklets that hang from a piece of string (cordel) in the places where they are sold. These are long, narrative poems with woodcut illustrations on the cover, often done by the poet himself.


แปลข่าว

           แนวคิดหลักคือการสร้างบรรยากาศในชนบทที่สมจริงยอดเยี่ยมและกลิ่นอายของ
"Literatura Cordel de" ฝีมือได้พบกับบรรยากาศที่รายละเอียดของเสื้อ Conto ของ                  "Cordel Literatura de" (วรรณกรรมสตริง) เป็นแผ่นพับหรือหนังสือเล่มเล็กที่แขวนจากชิ้นส่วนของสตริง (Cordel) ในสถานที่ซึ่งพวกเขาจะขาย เหล่านี้คือความยาวบทกวีเรื่องเล่าที่มีภาพประกอบแม่พิมพ์ไม้บนหน้าปก, มักจะทำโดยกวีของตัวเอง



เนื้อหา


The text at the bottom left of the wood packaging was created by Conto and is only a small part of a larger Cordel, where the events which guide the story of this new campaign are narrated. On the right we see a somewhat dubious image that can be considered the religiousness embedded in all these popular stories, or a simple saint.
Finally the box is closed with two thin black ribbons, to refer not only to the strings used in Cordel but also to bring the product even closer to a manual production with its manufacturing done quietly, one by one.


แปลข่าว



ข้อความที่ด้านล่างซ้ายของบรรจุภัณฑ์ไม้ที่ถูกสร้างขึ้นโดย Conto และเป็นเพียงส่วนเล็ก ๆ ของ Cordel ขนาดใหญ่ซึ่งเหตุการณ์ที่นำเรื่องราวของแคมเปญใหม่นี้จะเล่า เกี่ยวกับสิทธิที่เราเห็นภาพที่น่าสงสัยบ้างที่สามารถได้รับการพิจารณาการเป็นเคร่งศาสนาที่ฝังตัวในทุกเรื่องราวที่เป็นที่นิยมเหล่านี้หรือนักบุญที่เรียบง่าย ในที่สุดกล่องถูกปิดด้วยสองริบบิ้นสีดำบางเพื่ออ้างไม่เพียง แต่เป็นสตริงที่ใช้ในการ Cordel แต่ยังนำสินค้าได้ใกล้ชิดกับการผลิตคู่มือที่มีการผลิตที่ทำอย่างเงียบ ๆ หนึ่งต่อหนึ่ง



สุรปข่าว  


เป็นบรรจุภัณฑ์ที่นำเรื่องราวมาสื่อในกล่องใส่เสื้อT-Shirt เป็นการสร้างลวดลายบรรยากาศชนบทแห่งหนึ่งพิจารณาการเป็นเคร่งศาสนาที่ฝังตัวในทุกเรื่องราวที่เป็นที่นิยมเหล่านี้หรือนักบุญที่เรียบง่าย 






 

Emb madeira 2
Emb madeira 5


สัปดาห์ที่ 2 ออกแบบฟอนต์ งาน Thai Typeface Design Competition


สัปดาห์ที่ 2 ออกแบบฟอนต์ งาน Thai Typeface Design Competition

ที่มาของโครงการ
ฟอนต์ภาษาไทยในระบบคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการพัฒนาระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้รองรับภาษาไทย จนทำให้เกิดการใช้งานในทุกๆ ส่วนของสังคมอย่างทั่วถึง
ในปัจจุบันซอฟต์แวร์ทั้งในระบบเปิด (Open Source Software) และระบบปิด (Commercial Software) ล้วนต้องใช้ฟอนต์ด้วยกันทั้งสิ้น ฟอนต์ภาษาไทยที่ใช้กันอย่างแพร่หลายส่วนใหญ่ มักจะเป็นฟอนต์ที่มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows และระบบปฏิบัติการ Mac OSX ซึ่งเป็นฟอนต์ที่มีลิขสิทธิ์ มีบางฟอนต์ที่ผู้พัฒนาอนุญาตให้นำไปใช้ได้โดยไม่คิดมูลค่า เช่น ฟอนต์ที่พัฒนาโดยองค์กรในภาคอุตสาหกรรมการพิมพ์ คือ ชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ และฟอนต์ที่พัฒนาจากโครงการของกรมทรัพย์สินทางปัญญาร่วมกับสำนักงานส่งเสริม อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (SIPA)
ในส่วนของนักพัฒนาฟอนต์เองก็มีจำนวนจำกัด เนื่องจากไม่มีการเรียนการสอนโดยตรงในสถาบันการศึกษา นักพัฒนาฟอนต์เหล่านี้จึงต้องขวนขวายศึกษาหาความรู้เอาเองอย่างไร้การ สนับสนุนจากสังคมทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนผู้มีความรู้และประสบการณ์ อันจะนำไปสู่ปัญหาคุณภาพของฟอนต์ที่จะถูกพัฒนาขึ้นในอนาคตด้วย
ชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย จึงคิดโครงการ “แข่งขัน-ประชัน-นักออกแบบตัวพิมพ์รุ่นใหม่” นี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เกิดนักออกแบบฟอนต์รุ่นใหม่ๆ และเพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนาฟอนต์ ให้มีความเข้มแข็ง เกิดการพัฒนาฟอนต์ภาษาไทยอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ โดยจัดครั้งแรกขึ้นในปี 2554 ได้รับผลสำเร็จเป็นที่น่าพอใจ จึงเห็นควรให้ดำเนินโครงการนี้ต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
1) วัตถุประสงค์
- ส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ด้านอักขระภาษาไทย เพื่อมีแบบตัวพิมพ์ไทยให้เลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม หลากหลาย อ่านได้ง่าย สวยงาม และเหมาะกับเนื้อหาของงาน
- ส่งเสริมให้เกิดนักออกแบบตัวพิมพ์หน้าใหม่ โดยการสร้างเวทีสำหรับการแข่งขันประชันผลงานขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
- ส่งเสริมให้เกิดการต่อยอดในเชิงพาณิชย์ สำหรับนักออกแบบตัวพิมพ์รุ่นใหม่
- เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายฟอนต์ในประเทศไทย อันประกอบด้วย อาจารย์ในสถาบันการศึกษา นักศึกษา นักออกแบบ บริษัทผู้พัฒนาฟอนต์ ผู้ใช้ เครือข่ายสื่อต่างๆ และทรัพยากรบุคคลอื่นๆ เพื่อพัฒนาให้เครือข่ายฟอนต์ในประเทศไทยมีความเข้มแข็งและยั่งยืน
2) การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการฯ โดยผ่านเครือข่ายฟอนต์ ได้แก่ สถาบันการศึกษา และสื่อต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบกราฟิก และการใช้ฟอนต์
- นักออกแบบฟอนต์ จะส่งผลงานในรูปแบบไฟล์ชนิด PDF โดยผ่านทางเว็บไซต์ที่ชมรมฯ เตรียมไว้สำหรับการรับผลงาน ซึ่งมีระบบคุ้มครองทรัพย์ทางปัญญาของผู้ออกแบบฟอนต์เป็นอย่างดี
- ลักษณะของผลงานที่ส่งเข้าแข่งขัน
• ผลงานออกแบบฟอนต์ ไม่จำกัดประเภท ได้แก่ ตัวเนื้อความ, ตัวพาดหัว, ตัวแฟนซี ฯลฯ
• ผลงานให้เรียงเป็นข้อความสั้น ตามที่คณะกรรมการกำหนด บนพื้นที่กระดาษขนาด A3
- คณะกรรมการคัดเลือก ทีึ่แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน ทำหน้าที่คัดเลือกผลงานทั้งหมดที่ส่งเข้าแข่งขัน โดยคัดเลือกผู้ที่มีผลงานดีเด่น จำนวน 20 คน เพื่อรับโล่/ใบประกาศเกียรติคุณ และผู้ผ่านเกณฑ์ จำนวน 30 คน เข้าร่วมการสัมมนาเพื่อพัฒนานักออกแบบตัวพิมพ์ เป็นเวลา 1 วัน
- เผยแพร่ผลงานและข้อมูลของผู้ออกแบบ ผ่านทางเว็บไซต์ของชมรมฯ และเครือข่ายพันธมิตร
3) กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าประกวด 
- นิสิต นักศึกษาในสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนวิชา lettering design และ typography
- นักออกแบบกราฟิก และบุคคลทั่วไปที่สนใจการออกแบบตัวพิมพ์
4) แผนการดำเนินงาน
- 1 ก.พ. – 30 เม.ย. 2555
• ติดต่อประสานงานเครือข่ายฟอนต์ ได้แก่ fOnt.com, เครือข่ายใน facebook, ผู้เคยเข้าร่วมกิจกรรมประกวดแบบตัวพิมพ์ของชมรมฯ และของกรมทรัพย์สินทางปัญญา, บริษัทผู้พัฒนาแบบตัวพิมพ์, อาจารย์และสถาบันการศึกษาทีเปิดสอนวิชา lettering design และ typography, นิตยสาร iDesign, Computer Art ฯลฯ
• แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกผลงาน
- 15 พ.ค. 2555 เริ่มประชาสัมพันธ์โครงการ
- 15 พ.ค. – 30 มิ.ย. 2555 รับผลงานผ่านทางเว็บไซต์ www.tepclub.org
-  1-3 ก.ค. 2555 คัดเลือกผลงาน
- 5 ก.ค. 2555 แจ้งผลการคัดเลือกถึงผู้มีผลงานดีเด่นและผู้ผ่านเกณฑ์ (รวม 50 คน)
- 21 ก.ค. 2555 กิจกรรมสัมมนาเพื่อพัฒนานักออกแบบตัวพิมพ์ (80-100 คน) ประกอบด้วย การสัมมนาวิชาการ กิจกรรมเสริมสร้างเครือข่ายฟอนต์ และการมอบโล่/ใบประกาศเกียรติคุณ
5) ตัวชี้วัด 
ด้านจำนวนผู้เข้าร่วมและจำนวนผลงาน
- มีผู้ส่งผลงานไม่น้อยกว่า 150 คน จำนวนผลงาน ไม่น้อยกว่า 200 ผลงาน
- มีผลงานที่สามารถพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์ ได้ไม่น้อยกว่า 20 ผลงาน
ด้านเครือข่ายฟอนต์ในประเทศไทย
- มีสถาบันการศึกษาเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 20 สถาบัน
- ได้รับความสนับสนุนจากบริษัทผู้พัฒนาแบบตัวพิมพ์
- ได้รับความสนับสนุนจากสื่อต่างๆ เช่น fOnt.com และนิตยสารด้านการออกแบบกราฟิก
6) การสัมมนาเพื่อพัฒนานักออกแบบตัวพิมพ์
6.1) กิจกรรมสัมมนาวิชาการ
- ความรู้เรื่องฟอนต์สำหรับสือใหม่ (เว็บไซต์, eBook)
- ประสบการณ์ในการออกแบบตัวอักษรไทย และละติน (Latin)
- ประสบการณ์ในการใช้โปรแกรมสร้างฟอนต์
- การทำตลาดฟอนต์ (ในประเทศและต่างประเทศ)
- ความเห็นเรื่องฟอนต์จากฝั่งนักออกแบบกราฟิก (ผู้ใช้ฟอนต์)
6.2) กิจกรรมสร้างเครือข่าย
-  จับคู่นักออกแบบและบริษัทผู้พัฒนาฟอนต์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์
-  แนะนำเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายสังคมออนไลน์ – fOnt.com และ facebook และนิตยสารด้านการออกแบบกราฟิก
-  สร้างการมีส่วนร่วมของ resource persons ในเครือข่ายฟอนต์ โดยการเป็นวิทยากร การเป็นพี่เลี้ยงให้นักออกแบบรุ่นใหม่

การออกแบบ Font
โดย นายจุติเชษฐ์ นาบำรุง
รหัสนักศึกษา 5311310469 กลุ่มเรียน 101
E-mail :JurichetCRU@gmail.com
Blog : http://Jutichet-arti3314.blogspot.com/
รายวิชา ARTI3314 การออกแบบกราฟฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์

ขั้นตอนการออกแบบ Font ชื่อ " Jutichet "